บทความ

นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5

นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5 สุขภาพกับการใช้งานเทคโนโลยี 1. ออฟฟิศซินโดรม      อาการ    👉 1. กล้ามเนื้ออักเสบและปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆ เช่น หลัง บ่า ไหล่ แขน ข้อมือ    👉2. เกิดการโค้งงอผิดรูปของกระดูก    👉 3. บางท่าทางทำให้เกิดอาการตึง      สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการออฟฟิศซินโดรม    👉 1. นั่งทำกิจกรรมหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน    👉 2. ท่าทางการนั่งไม่ถูกต้อง           ท่ากายบริหารป้องกันโรค Office Syndrome    👉 1. ประสานมือบริเวณอก แล้วเหยียดออกด้านหน้า เกร็งกล้ามเนื้อ นับ 1-10 แล้วทำซ้ำอีกครั้ง    👉 2. ประสานมือพร้อมกับชูขึ้นเหยียดตัวและเกร็งกล้ามเนื้อ นับ 1-10 แล้วทำซ้ำอีกครั้ง       ท่าบริหารคอป้อง กันโรค Office Syndrome    💨 1. มือซ้ายจับมือขวาจากด้านหลัง    💨 2. หมุนคอไปทางซ้ายนับ 1-10    💨 3. เมื่อครบเปลี่ยนสลับทำอีกข้าง    💨 4. ทำแบบนี้ข้างละ 2 ครั้ง 2. โรคคอมพิวเตอร์วิชันซินโดรม      อาการ    👍  1. ปวดตา ตาแห้ง แสบตา ตาบวม    👍 2. ปวดหัว    👍 3. ปวดคอและบ่า           สาเหตุ   💨   1. ใช้คอมพิวเตอร์/โทรศัพท์เป็นเวลานาน    💨   2. ไม่ค่อยกระพริบตา    💨   3. แสง

นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5

นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5 👉การเป็นพลเมืองดิจิทัล👈     ในปี พ.ศ.2562 ไมค๋ ริบเบิล ได้ปรับปรุงกรอบแนวคิดของการเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดี   มีทั้งหมด   3  ด้านด้วยกัน 1.savvy     การมีความรู้ทางเทคโนโลยีและการแบ่งบันความรู้ให้กับผู้อื่น 2.safe     การป้องกันตนเองและผู้อื่น 3.social     การเคารพตนเองและผู้อื่นในสังคมออนไลน์ การรู้ดิจิทัล      ทักษะการรู้ดิจิมัล         สามารถเรียนรู้มาจากเพื่อน ครอบครัว บุคคลในชุมชน และจากแหล่งออนไลน์ 1.การใช้     จะต้องมีทักษะในการใช้โปรแกรมต่างๆ เพื่อที่จะสร้างชิ้นงานออกมา จะต้องมีทักษะในการค้นหาข้อมูลต่างๆจากแหล่งฐานข้อมูล 2.การเข้าใจ     จะต้องเข้าในในสื่อ ต้องเข้าใจบริบทและประเมินสื่อให้ได้ จากนั้นก็ต้องตัดสินใจให้ได้ว่าควรทำสิ่งใด 3.การสร้าง     เป็นทักษะสำคัญอย่างหนึ่งในการเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดี ในการสร้าง เช่น Rich Media จะเป็นการโฆษณาแบบใหม่ที่อยู่ในโลกดิจิทัล ลักณะจะเป็นป๊อปอัพแสดงขึ้นมา และเป็นภาพเครื่องไหว เเละการสร้างบล๊อก การมีทักษะในการสื่อสาร จะผ่านสื่อกลางหรื่อแพลตฟอร์ม เช่น เฟสบุ๊ก ทวิตเตอร์ ออินสตราแกรม และไลน์ จะสามารถติต่อสื่อส

นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5

รูปภาพ
 ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8  เลขที่5 การป้องกันตนเองและผู้อื่น(ความเป็นส่วนตัว สิทธิและความรับผิดชอบ)(13) ความเป็นส่วนตัว(Privacy)  เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่จะปกปิดไม่ให้ผู้อื่นทราบข้อมูลบางอย่าง ข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์ทางธุรกิจเป็นอย่างมาก ข้อมูลที่ถูกรวบรวมเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ -ตำแหน่งที่อยู่ -เพศ -ขายได้ -กลุ่มเพื่อน ไม่ควรไปละเมิดความเป็นส่วนตัวของบุคคล นโยบายการใช้คุกกี้     เมื่อเราเข้าใช้งานเว็บไซต์ใดเป็นประจำ ใช้นั้นจะจดจำได้ว่าเราเคยใช้งาน เนื่องจากมีการเก็บข้อมูลขนาดเล็กที่เรียกว่าคุกกี้ (Cookies) สิทธิและความรับผิดชอบ -กฎหมายลิขสิทธิ์(copyright) ลักษณะของการเผยแพร่ผลงาน 1)เผยแพร่ผลงานให้เป็นสมบัติสาธารณะ 2)การเผยแพร่งานที่อนุญาตให้ผู้อื่นนำไปใช้หรือพัฒนาต่อยอด สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ Creative Commons:CC อ้างอิง :  https://youtu.be/uaNMv2KWRLc

นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5

รูปภาพ
 นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5 กันยายน 05, 2564 บทที่ 4 อาชีพในยุคดิจิทัล จุดประสงค์ของบทเรียน - อธิบายลักษณะอาชีพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - วิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของอาชีพที่จะต้องปรับเปลี่ยนและอนาคต - ตระหนักถึงความสำคัญของเทคโนโลยีอาชีพ ตกงานแล้วไม่มีอาชีพประกอบ -  ปัญญาประดิษฐ์เปลี่ยนจากผู้รับคำสั่งผู้ร่วมงาน - มนุษย์เปลี่ยนจากผู้สั่งงานผู้ร่วมคิด มนุษย์มีข้อได้เปรียบ  กว่าระบบอัตโนมัติในด้านศักยภาพการทำงานเชิงกล การทำงานร่วมกับเครื่องจักรและระบบอัตโนมัติ -  มือของมนุษย์  มีความยืดหยุ่นและแม่นยำในระดับที่หุ่นยนต์อย่างถูกแทนได้ยาก อาชีพที่น่าจะเกิดขึ้น  จากการทำงานร่วมกันระหว่างมนุษย์และเครื่องจักร ผู้ฝึกสอน     ฝึกสอนหุ่นยนต์ให้ทำตามคำสั่ง ให้คำแนะนำจากระบบปัญญาประดิษฐ์ ผู้อธิบาย     ตัวกลางระหว่างผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ผู้ดูแลรักษา     ดูแลรักษาระบบปัญญาประดิษฐ์และหุ่นยนต์ตรวจสอบประสิทธิภาพในการทำงาน อ้างอิง https://youtu.be/ebk_e3qCBnA

นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5

รูปภาพ
 นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5 อาชีพในยุคดิจิทัล -อาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร เเบ่งออก3ประเภท 1.การพัฒนาเเละสร้างชิ้นงาน ผู้เชี่ยวชาญด้านเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ - วิเคราะห์ - พัฒนา - ปรับปรุงบำรุง - เเก้ไข้ปัญหา - ตรวจสอบประสิทธิภาพ ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัย - วิจัย - วิเคราะห์ - ตรวจสอบ - บำรุงรักษา นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล - ใช้เครื่องมือ -คณิตศาสตร์สถิติ -เขียนโปรเเกรม นักวิเคราะห์ระบบ - ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน 🔍อาชีพโปรเเกรมเมอร์ ออกเเบบพัฒนาระบบ - Mobile developers - Pro-gamers - Web developer 🔍นักทดสอบ ตรวจสอบค้นหาระบบ 2.การดูเเลรักษาประสานงาน -ผู้ดูเเลระบบ  บริหารจัดการระบบ การติดตั้ง บำรุง -เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม  ออกเเบบประเมิน 3.บริหาร -ผู้จัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร สนับบสนุน นโยบายเเผนบริหาร -ผู้ดูเเลระบบฐานข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล สำรองข้อมูล -ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง กำหนดมาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้าง งบประมาณ การพัฒนา เเละคำเเนะนำ เเก่ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร ที่มา:  http://anyflip.com/owtr/nibi/basic

นาย ธนวัฒน์ ละออง ชั้น6/8 เลขที่5

รูปภาพ
 สรุปความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ปัญญาประดิษฐ์ เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ มีวัตถุประสงค์ในการสร้างความฉลาดของเครื่องจักร (machine intelligence) ให้สามารถเรียนรู้ คิดเป็นเหตุเป็นผล และตัดสินใจได้คล้ายมนุษย์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานต่างๆ ที่ต้องใช้ทักษะมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในปัจจุบัน ปัญญาประดิษฐ์เข้ามามีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์ ตัวอย่างเช่น ผู้ช่วยอัจฉริยะ (Intelligent personal assistant) อย่าง Siri ของ Apple, Cortana ของ Microsoft, Alexa ของ Amazon, Google Assistant ของ Google ที่สามารถรับคำสั่งเสียงของมนุษย์ ไปประมวลผลแล้วตอบคำถาม จัดการสิ่งต่างๆ ตามคำสั่งที่ได้รับ หรือรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ ที่สามารถแล่นไปยังจุดหมายปลายทางโดยที่ผู้โดยสารบนรถไม่ต้องขับขี่เอง ลำดับเวลาของปัญญาประดิษฐ์ (AI Timeline) Artificial Intelligence Timeline Infographic – From Eliza to Tay and beyond 1950 TURING TEST   – อลัน ทัวริ่ง (Alan Turing) นักวิทยาการคอมพิวเตอร์ เสนอการทดสอบความฉลาดของเครื่องจักร โดยถ้